ศธ.ยืนยันเก็บภาษีรร.กวดวิชาทั่วประเทศ
ฐานคำนวนปี 2558
...ไทยมีผู้มีรายได้ทั้งหมด 38 ล้านคน มายื่นเสียภาษี 11.7 ล้านราย เสียภาษีจริง 3 ล้านคน หนีภาษี 26.3 ล้านราย (นายกพูดในรายการวันศุกร์ที่30 ตค.58) แต่ละปี หนีภาษีรายได้บุคคลธรรมดา 70%
...นิติบุคคลจดทะเบียน จำนวน 1.5 ล้านราย เสียภาษีเพียง 6 แสนราย (นายกพูดในรายการวันศุกร์ที่30 ตค.58) หนีภาษีรายได้นิติบุคคล 60%
...ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม(SME)ไทยทั้งหมด 2.7 ล้านราย เสียภาษีเพียง 3 แสนราย หนีภาษี 2.4 ล้านราย แต่ละปี หนีภาษีรายได้นิติบุคคล 88%
...ผู้ประกอบการจำหน่ายสินค้าออนไลน์ในประเทศไทย ผ่านเว็บไซด์ เฟซบุ๊ก ไอจี ทวิตเตอร์จำนวนทั้งหมดกว่า 5 แสนราย แต่มีผู้ขึ้นทะเบียนถูกต้องตามกฎหมายเพียง 1.35 หมื่นราย และ 1.53 หมื่นเว็บไซด์ เพียง 6% ของทั้งหมด หรือหนีภาษีรายได้ด้านนี้ 94%
...อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มมูลของไทยน้อยที่สุดในโลกเพียง 7% ประเทศยุโรปอัตราเฉลี่ย 20% ใครซื้อสินค้ามากจับจ่ายใช้สอยมากกระทบมาก ชาวบ้านใช้จ่ายน้อยกระทบน้อย
...คนไทยเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเฉพาะการจับจ่ายในห้างใหญ่เท่านั้น ร้านค้าทั่วไป อู่ซ่อมรถ ร้านอาหารร้านค้าสถานบริการห้องแถวไม่มีระบบเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่ละปี หนีภาษีมูลค่าเพิ่มประมาณ 60%
...ภาษีศุลกากร ก็มีการหลบเลี่ยงช่วยเหลือโดยเจ้าหน้าที่ แต่ละปี หนีภาษีศุลกากร 40%
...ภาษีสัมประสามิตร มีการหนีภาษีสัมประสามิตร 40%
...รวมแล้วแต่ละปีไทยสูญเสียเงินภาษีประมาณปีละ 66.66% คิดเป็นเงินทั้งสิ้นปีละ 4 ล้านล้านบาท เก็บภาษีได้จริงเพียงปีละ 33.33%
...เงิน ปีละ 4 ล้านล้านบาท (ฐานคิดปี 2558) เป็นเงินจำนวนมากมหาศาล 2 เท่าของเงินภาษีที่เก็บได้ หรือ 2 เท่าของงบประมาณประจำปีของไทย ถ้าเก็บได้ 100% จะเก็บได้ปีละ 6 ล้านล้านบาท หรือถ้าเก็บภาษีได้จริงเพียง ปีละ 4 ล้านล้านบาทเมืองไทย ก็โชติช่วงชัชวาล ก้าวข้ามประเทศที่มีรายได้น้อย หรือรายได้ปานกลาง เที่ยบเท่าประเทศเจริญระดับสากลได้ แก้ปัญหาโครงสร้างพื้นฐาน ปัญหาความยากจน ปัญหาความเหลื่มล้ำได้
"สุทธศรี" เผยมติองค์กรหลัก ศธ.ยืนยันให้จัดเก็บภาษีโรงเรียนกวดวิชาทุกแห่ง มอบ สช.เสนอ ครม.สัปดาห์หน้า "อมรวิชช์" ชี้โจทย์ใหญ่กว่าเก็บภาษี คือ ลดการกวดวิชาลง
...ไทยมีผู้มีรายได้ทั้งหมด 38 ล้านคน มายื่นเสียภาษี 11.7 ล้านราย เสียภาษีจริง 3 ล้านคน หนีภาษี 26.3 ล้านราย (นายกพูดในรายการวันศุกร์ที่30 ตค.58) แต่ละปี หนีภาษีรายได้บุคคลธรรมดา 70%
...นิติบุคคลจดทะเบียน จำนวน 1.5 ล้านราย เสียภาษีเพียง 6 แสนราย (นายกพูดในรายการวันศุกร์ที่30 ตค.58) หนีภาษีรายได้นิติบุคคล 60%
...ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม(SME)ไทยทั้งหมด 2.7 ล้านราย เสียภาษีเพียง 3 แสนราย หนีภาษี 2.4 ล้านราย แต่ละปี หนีภาษีรายได้นิติบุคคล 88%
...ผู้ประกอบการจำหน่ายสินค้าออนไลน์ในประเทศไทย ผ่านเว็บไซด์ เฟซบุ๊ก ไอจี ทวิตเตอร์จำนวนทั้งหมดกว่า 5 แสนราย แต่มีผู้ขึ้นทะเบียนถูกต้องตามกฎหมายเพียง 1.35 หมื่นราย และ 1.53 หมื่นเว็บไซด์ เพียง 6% ของทั้งหมด หรือหนีภาษีรายได้ด้านนี้ 94%
...อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มมูลของไทยน้อยที่สุดในโลกเพียง 7% ประเทศยุโรปอัตราเฉลี่ย 20% ใครซื้อสินค้ามากจับจ่ายใช้สอยมากกระทบมาก ชาวบ้านใช้จ่ายน้อยกระทบน้อย
...คนไทยเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเฉพาะการจับจ่ายในห้างใหญ่เท่านั้น ร้านค้าทั่วไป อู่ซ่อมรถ ร้านอาหารร้านค้าสถานบริการห้องแถวไม่มีระบบเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่ละปี หนีภาษีมูลค่าเพิ่มประมาณ 60%
...ภาษีศุลกากร ก็มีการหลบเลี่ยงช่วยเหลือโดยเจ้าหน้าที่ แต่ละปี หนีภาษีศุลกากร 40%
...ภาษีสัมประสามิตร มีการหนีภาษีสัมประสามิตร 40%
...รวมแล้วแต่ละปีไทยสูญเสียเงินภาษีประมาณปีละ 66.66% คิดเป็นเงินทั้งสิ้นปีละ 4 ล้านล้านบาท เก็บภาษีได้จริงเพียงปีละ 33.33%
...เงิน ปีละ 4 ล้านล้านบาท (ฐานคิดปี 2558) เป็นเงินจำนวนมากมหาศาล 2 เท่าของเงินภาษีที่เก็บได้ หรือ 2 เท่าของงบประมาณประจำปีของไทย ถ้าเก็บได้ 100% จะเก็บได้ปีละ 6 ล้านล้านบาท หรือถ้าเก็บภาษีได้จริงเพียง ปีละ 4 ล้านล้านบาทเมืองไทย ก็โชติช่วงชัชวาล ก้าวข้ามประเทศที่มีรายได้น้อย หรือรายได้ปานกลาง เที่ยบเท่าประเทศเจริญระดับสากลได้ แก้ปัญหาโครงสร้างพื้นฐาน ปัญหาความยากจน ปัญหาความเหลื่มล้ำได้
"สุทธศรี" เผยมติองค์กรหลัก ศธ.ยืนยันให้จัดเก็บภาษีโรงเรียนกวดวิชาทุกแห่ง มอบ สช.เสนอ ครม.สัปดาห์หน้า "อมรวิชช์" ชี้โจทย์ใหญ่กว่าเก็บภาษี คือ ลดการกวดวิชาลง
เดลินิวส์ออนไลน์วันพฤหัสบดี 15 มกราคม 2558 เวลา 15:00 น.
...วันนี้ (15 ม.ค.) ดร.สุทธศรี วงษ์สมาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ(ศธ.) เปิดเผยว่า จากการประชุมผู้บริหารองค์กรหลักของ ศธ.เมื่อเร็วๆ นี้ ได้มีการรายความคืบหน้าการดำเนินการจัดเก็บภาษีโรงเรียนกวดวิชาตามมติคณะรัฐมนตรี (ครม.) ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.)ได้หารือร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กระทรวงการคลัง กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงพาณิชย์ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาแล้ว และยืนยันให้มีการจัดเก็บภาษีโรงเรียนกวดวิชาทุกแห่ง ซึ่งปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 2,000 กว่าแห่งทั่วประเทศ และจะแบ่งประเภทการจัดเก็บภาษีเงินได้ ออกเป็น ประเภทบุคคลธรรมดา และประเภทนิติบุคคล ทั้งนี้ เมื่อมีการจัดเก็บภาษีโรงเรียนกวดวิชาแล้วจะมีการพิจารณาลดหย่อนภาษีให้โรงเรียนกวดวิชาเหล่านี้แทนการยกเว้นภาษี เพื่อให้สอดคล้องกับ พ.ร.บ.โรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550 มาตรา 48(4) ที่ได้กำหนดให้มีการลดหย่อน หรือ ยกเว้นภาษีเงินได้ของผู้รับใบอนุญาตฯ ซึ่งมาตรการลดหย่อนภาษีนี้จะทำให้ไม่ขัดแย้งกับ พ.ร.บ.โรงเรียนเอกชน
...ปลัด ศธ. กล่าวต่อไปว่า ส่วนจะจัดเก็บและการลดหย่อนภาษีในอัตราเท่าไรนั้น ทางกรมสรรพากรจะไปพิจารณา โดยอาจจะลดหย่อนสองเท่า หรือ สามเท่าให้แก่โรงเรียนกวดวิชาที่มีการทำกิจกรรม เพื่อประโยชน์สังคม กิจกรรมเพื่อการกุศล หรือสาธารณประโยชน์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา โดยในสัปดาห์หน้า สช.จะเสนอเรื่องนี้เข้าสู่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อรับทราบต่อไป อย่างไรก็ตาม พล.ร.อ.ณรงค์ พิพัฒนาศัย รมว.ศึกษาธิการ ได้เสนอแนะว่าการแก้ปัญหากวดวิชาต้องแก้ที่ต้นตอ โดยควรมีการพัฒนาการเรียนการสอน ซึ่งตนจะมอบให้ สช.ไปพิจารณาในภาพรวมของโรงเรียนกวดวิขาด้วย เพื่อแก้ไขปัญหาการกวดวิชาต่อไป
...ด้าน ดร.อมรวิชช์ นาครทรรพ ผู้ช่วยเลขานุการ รมว.ศธ. กล่าวว่า โจทย์ที่ใหญ่กว่าการจัดเก็บภาษี คือ ทำอย่างไรที่จะลดปริมาณการกวดวิชาลง ซึ่งเป็นปัญหาพัวพันมานานหลายทศวรรษ และต้องแก้เป็นระบบ ทั้งการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียน ความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพศึกษา การวัดและประเมินผลในโรงเรียน รวมถึงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าสถาบันอุดมศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งนักศึกษากว่า 80 % มาจากระบบโควต้าที่พิจารณาเพียงแค่เกรดเฉลี่ยและการสอบสัมภาษณ์ ซึ่งมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ต่างจากเด็กที่มาจากระบบแอดมิชชั่น ฉะนั้นจึงพิสูจน์ได้ว่าการดูคนอย่าดูเพียงแค่คะแนนสอบแต่ให้ดูที่ศักยภาพ.
...ปลัด ศธ. กล่าวต่อไปว่า ส่วนจะจัดเก็บและการลดหย่อนภาษีในอัตราเท่าไรนั้น ทางกรมสรรพากรจะไปพิจารณา โดยอาจจะลดหย่อนสองเท่า หรือ สามเท่าให้แก่โรงเรียนกวดวิชาที่มีการทำกิจกรรม เพื่อประโยชน์สังคม กิจกรรมเพื่อการกุศล หรือสาธารณประโยชน์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา โดยในสัปดาห์หน้า สช.จะเสนอเรื่องนี้เข้าสู่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อรับทราบต่อไป อย่างไรก็ตาม พล.ร.อ.ณรงค์ พิพัฒนาศัย รมว.ศึกษาธิการ ได้เสนอแนะว่าการแก้ปัญหากวดวิชาต้องแก้ที่ต้นตอ โดยควรมีการพัฒนาการเรียนการสอน ซึ่งตนจะมอบให้ สช.ไปพิจารณาในภาพรวมของโรงเรียนกวดวิขาด้วย เพื่อแก้ไขปัญหาการกวดวิชาต่อไป
...ด้าน ดร.อมรวิชช์ นาครทรรพ ผู้ช่วยเลขานุการ รมว.ศธ. กล่าวว่า โจทย์ที่ใหญ่กว่าการจัดเก็บภาษี คือ ทำอย่างไรที่จะลดปริมาณการกวดวิชาลง ซึ่งเป็นปัญหาพัวพันมานานหลายทศวรรษ และต้องแก้เป็นระบบ ทั้งการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียน ความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพศึกษา การวัดและประเมินผลในโรงเรียน รวมถึงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าสถาบันอุดมศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งนักศึกษากว่า 80 % มาจากระบบโควต้าที่พิจารณาเพียงแค่เกรดเฉลี่ยและการสอบสัมภาษณ์ ซึ่งมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ต่างจากเด็กที่มาจากระบบแอดมิชชั่น ฉะนั้นจึงพิสูจน์ได้ว่าการดูคนอย่าดูเพียงแค่คะแนนสอบแต่ให้ดูที่ศักยภาพ.
.ความเห็นผู้เขียน
..ที่จริงเป็นภาษีรายได้บุคคลธรรมดาหรือภาษีนิติบุคคลที่เป็นเจ้าของโรงเรียนกวดวิชาเป็นภาษีรายได้ปรกติทั่วไป แต่คงมีการหลบเลี่ยงภาษีรายได้ในส่วนโรงเรียนกวดวิชากันมากจึงนำมากล่าวถึงกันโดยเฉพาะและถึงขั้นเป็นมติคณะรัฐมนตรีกำกับไว้อีกชั้นหนึ่ง
..ที่จริงเป็นภาษีรายได้บุคคลธรรมดาหรือภาษีนิติบุคคลที่เป็นเจ้าของโรงเรียนกวดวิชาเป็นภาษีรายได้ปรกติทั่วไป แต่คงมีการหลบเลี่ยงภาษีรายได้ในส่วนโรงเรียนกวดวิชากันมากจึงนำมากล่าวถึงกันโดยเฉพาะและถึงขั้นเป็นมติคณะรัฐมนตรีกำกับไว้อีกชั้นหนึ่ง
...ไม่จำเป็นต้องลดปริมาณการกวดวิชาหรือลดโรงเรียนกวดวิชาลงประเ
.
..ยากที่รัฐจะความคุมปริมา
...การกวดวิชาทำให้นักเรียน
....ควรไปพัฒนาตรวจสอบคุณภาพโรงเรียนกวดวิชาให้อบรมคุณธรรมรวมและดูแลความปลอดภัย...ลดเวลาเรียนในห้องโรง
...ทุกวันนี้เด็กเอาแต่เรียนทฤ
... ส่วนที่ห่วงเรื่องความไม่เส
.
..ว่าแต่รัฐควรปฏิรูปภาษีใ
...ระบบภาษีของเราเอะอะก็ลด
สุทธิวัชร์ อุตมะพันธุ์ ·
ก็ต้องลงทุน ลงแรง เพื่อเพิ่มศักยภาพของบุตรหลาน เพิ่มศักยภาพการแข่งขันของพลเมืองไทย กับต่างประเทศ ทุกประเทศกวดวิชากันทั้งนั้น
มหาวิทยาลัยไทย เขาสอนเรื่องวิชาชีพ ไม่มีเวลามาสอนความรู้พื้นฐานระดับมัธยมให้ผู้เรียนแล้วครับ
ผลผลิตคุณภาพนิสิตแต่ละมหาลัย แตกต่างกัน ไม่ใช่เพราะคุณภาพมหาลัยแตกต่างกัน
แต่เป็นคุณภาพของผู้เข้าเรียนแตกต่างกัน มหาลัยดังได้เด็กพื้นฐานดี มหาลัยราชภัฏได้เด็กเหลือขอ คุณภาพย่อมแตกต่าง
ดังนั้นคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานสำคัญมาก การกวดวิชาสำคัญมากที่สุด ควรควบคุมคุณภาพ รร.กวดวิชา อย่าให้เป็นแหล่งมั่วสุม เป็นแหล่งค้ากำไรเกินควร และต้องเสียภาษีทุก รร....
ห่วงความเสมอภาคการศึกษาไทย ให้คนรวยกับคนจนได้เรียนรู้เสมอภาคกัน นั้นคือ อำนาจการแข่งขันไทยจะลดลง สู้ต่างประเทศไม่ได้ ต้องยอมให้คนรวยใช้ปัจจัยที่มีที่เหนือกว่า เพื่อการศึกษาของบุตรหลานตนอย่างเต็มที่
คนรวยจึงต้องมีภาระเป็นหัวหอก พัฒนาเศรษฐกิจไทย และต้องเป็นผู้เสียภาษีเลี้ยงดูคนจน
คนจนเสียสระแล้ว ยอมเป็นผู้ด้อยโอกาสแล้ว คนรวยได้เป็นผู้มีโอกาสแล้ว ต้องเสียสระเลี้ยงดูจนเช่นกัน
หากคนรวยเห็นว่าไม่ยุติธรรม ก็จงลงมาเป็นคนจนแทน
...งบประมาณไทย 80% ใช้จ่ายเป็นเงินเดือนข้าราชการลูกจ้าง และ 20% ใช้เป็นงบลงทุนเช่นสร้างถนน,โครงสร้างพื้นฐาน,สวัสดิการ,โครงการรัฐบาล
...เราชอบเรียกร้องให้รัฐ จัดงปม.เพื่อ ดำเนินการวิจัยนวัตกรรมอย่างน้อย 3 %ของGDP ตามอย่างประเทศพัฒนา แต่ไม่เรียกร้องให้รัฐเก็บรายได้ใกล้เคียงประเทศพัฒนา 35-40%ของGDPด้วย ไทยเก็บรายได้ ได้เพียง 17%ของGDP ดังนั้นหากนำเงินจำนวน 3%ของGDP ซึ่งมีค่าเท่ากับ 18% ของงบประมาณไปใช้จ่ายด้านวิจัยแทบไม่เหลือเป็นเงินลงทุนอื่น ๆ เลย
รายได้จากภาษีเมื่อเทียบกับร้อยละ GDP ที่แต่ละประเทศเก็บได้
https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_tax_revenue_as_percentage_of_GDP
มหาวิทยาลัยไทย เขาสอนเรื่องวิชาชีพ ไม่มีเวลามาสอนความรู้พื้นฐานระดับมัธยมให้ผู้เรียนแล้วครับ
ผลผลิตคุณภาพนิสิตแต่ละมหาลัย แตกต่างกัน ไม่ใช่เพราะคุณภาพมหาลัยแตกต่างกัน
แต่เป็นคุณภาพของผู้เข้าเรียนแตกต่างกัน มหาลัยดังได้เด็กพื้นฐานดี มหาลัยราชภัฏได้เด็กเหลือขอ คุณภาพย่อมแตกต่าง
ดังนั้นคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานสำคัญมาก การกวดวิชาสำคัญมากที่สุด ควรควบคุมคุณภาพ รร.กวดวิชา อย่าให้เป็นแหล่งมั่วสุม เป็นแหล่งค้ากำไรเกินควร และต้องเสียภาษีทุก รร....
ห่วงความเสมอภาคการศึกษาไทย ให้คนรวยกับคนจนได้เรียนรู้เสมอภาคกัน นั้นคือ อำนาจการแข่งขันไทยจะลดลง สู้ต่างประเทศไม่ได้ ต้องยอมให้คนรวยใช้ปัจจัยที่มีที่เหนือกว่า เพื่อการศึกษาของบุตรหลานตนอย่างเต็มที่
คนรวยจึงต้องมีภาระเป็นหัวหอก พัฒนาเศรษฐกิจไทย และต้องเป็นผู้เสียภาษีเลี้ยงดูคนจน
คนจนเสียสระแล้ว ยอมเป็นผู้ด้อยโอกาสแล้ว คนรวยได้เป็นผู้มีโอกาสแล้ว ต้องเสียสระเลี้ยงดูจนเช่นกัน
หากคนรวยเห็นว่าไม่ยุติธรรม ก็จงลงมาเป็นคนจนแทน
...งบประมาณไทย 80% ใช้จ่ายเป็นเงินเดือนข้าราชการลูกจ้าง และ 20% ใช้เป็นงบลงทุนเช่นสร้างถนน,โครงสร้างพื้นฐาน,สวัสดิการ,โครงการรัฐบาล
...เราชอบเรียกร้องให้รัฐ จัดงปม.เพื่อ ดำเนินการวิจัยนวัตกรรมอย่างน้อย 3 %ของGDP ตามอย่างประเทศพัฒนา แต่ไม่เรียกร้องให้รัฐเก็บรายได้ใกล้เคียงประเทศพัฒนา 35-40%ของGDPด้วย ไทยเก็บรายได้ ได้เพียง 17%ของGDP ดังนั้นหากนำเงินจำนวน 3%ของGDP ซึ่งมีค่าเท่ากับ 18% ของงบประมาณไปใช้จ่ายด้านวิจัยแทบไม่เหลือเป็นเงินลงทุนอื่น ๆ เลย
รายได้จากภาษีเมื่อเทียบกับร้อยละ GDP ที่แต่ละประเทศเก็บได้
https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_tax_revenue_as_percentage_of_GDP
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น